เป้าหมาย (Understanding Goal) :

Main

"คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ"

เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา

- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา

เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต

การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)

สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล

สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ

- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย

Mind mapping (สาระการเรียนรู้)
- ครู



หน่วยการเรียนรู้ : ขบวนการตัวเลข

ภูมิหลัง: 

                 คณิตศาสตร์เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา ทั้งข้าวของ เครื่องใช้ บ้าน รถ ฯลฯหรือแม้แต่ธรรมชาติ ก็ล้วนมีคณิตศาสตร์เข้าไปเกี่ยวข้อง การเรียนคณิตศาสตร์จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ทำให้เราสามารถพัฒนาความคิดได้อย่างเป็นระบบ มีแบบแผน รู้จักการวางแผน การแก้ปัญหา กล้าตัดสินใจ มีความพยายามมุ่งมั่นที่จะอดทนข้ามผ่านโจทย์ยากๆ ได้ฝึกการคิดสร้างสรรค์ ในการนำคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้เพื่อสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ การวัดหรือมาตราวัดสากล เป็นการเรียนรู้ที่จะทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างสรรค์วิธีวัด สร้างเครื่องมือวัด เพื่อหาปริมาณ สมบัติของสิ่งต่างๆ คาดคะเนสมบัติของสิ่งต่างๆรวมทั้งเกิดความรู้สึกเชิงจำนวน มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการบวก ลบ คูณ หาร และเห็นความสัมพันธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งสามารถแก้ปัญหาและให้เหตุผลเกี่ยวกับกระบวนการคิดโดยการอธิบายหรือถ่ายทอดในรูปแบบต่างๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจ แล้วนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้อย่างเหมาะสม

 

เป้าหมายความเข้าใจ :
          เข้าใจมาตราวัดสากล สามารถสร้างสรรค์วิธีวัด เครื่องมือวัด เพื่อหาปริมาณ สมบัติของสิ่งต่างๆ คาดคะเนสมบัติของสิ่งต่างๆรวมทั้งเกิดความรู้สึกเชิงจำนวน มีความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการบวก ลบ คูณ หาร และเห็นความสัมพันธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร อีกทั้งสามารถแก้ปัญหาและให้เหตุผลเกี่ยวกับกระบวนการคิดโดยการอธิบายหรือถ่ายทอดในรูปแบบต่างๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจ แล้วนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันของตนเองได้อย่างเหมาะสม



ปฏิทินการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ ขบวนการตัวเลข

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 Quarter 1 / 2559

week
Input
Process
Output
Outcome



1


16
-
20
พ.ค.
2559



















โจทย์
ทบทวนองค์ความรู้ (ฐานกิจกรรม)
จำนวนและการดำเนินการ
  - การบวก ลบ คูณ หาร
  - การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
คำถาม
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรมาบ้างแล้ว
- การสร้างโจทย์ปัญหา นักเรียนมีวิธีคิดจากโจทย์นั้นๆอย่างไร (โจทย์บอกอะไร โจทย์ถามอะไร )
- นักเรียนวางเป้าหมายการเรียนคณิตศาสตร์อย่างไร
เครื่องมือคิด
-Blackboard Share
-Round Robin
- Mind Mapping
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
- นิทาน “โถมหัศจรรย์”
- ชุดแผ่นร้อย /ตารางค่าประจำหลัก
- ใบงานการบวก ลบ คูณ หาร
-ฐานการเรียนรู้ (ในห้องเรียน)
 ฐานการบวก ลบ/การคูณ การหาร/เลขระคน/โจทย์ปัญหา/ความสัมพันธ์ แบบรูป/ค่าประจำหลัก/ค่าของตัวเลข)
- พท.บริเวณโรงเรียน
-ครูเล่านิทาน “โถมหัศจรรย์”ให้นักเรียนฟัง แล้วตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนเห็นอะไร เช่น สิ่งนั้นเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างไร เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร นักเรียนจะนำเรื่องนี้ไปใช้อย่างไร
-นักเรียนเล่นเกมจับคู่ตัวเลขให้ได้จำนวน(.....)โดยครูเป็นคนบอกโจทย์
-นักเรียนวางเป้าหมายการเรียนคณิตศาสตร์ของตนเอง
- ครูชวนนักเรียนคิด “โลกของเราเป็นโลกของตัวเลข” นักเรียนบอกสิ่งที่นับได้และลองนับ (สิ่งที่อยู่อยู่รอบๆตัว)
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ3 คน แต่ละกลุ่มสำรวจสิ่งของและนับจำนวน โดยครูกำหนดเวลาและสถานที่ให้แต่ละกลุ่ม
- นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนับรวมสิ่งของที่นับได้เป็นหมวดหมู่ต่างๆ จัดลำดับจำนวนสิ่งของที่นับได้มากที่สุด ไปหาน้อยที่สุด แล้วนำเสนอ
- ครูนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยน ในโลกของเราอะไรที่นับได้ นับไม่ได้
- ทบทวนการบวก การลบ คูณ หาร (กระจาย /แนวตั้ง )โจทย์ปัญหา ค่าประจำหลัก แบบรูป ความสัมพันธ์ ผ่านกิจกรรม

ฐานการเรียนรู้
-ครูจัดมุมในห้องเรียนเป็นฐานต่างๆแต่ละฐานมีกิจกรรมและแบฝึกหัดให้นักเรียนทำเพื่อทบทวนความเข้าใจของตนเองในสิ่งที่เรียนรู้ผ่านมาแล้ว
-นักเรียนแต่ละคนมีสมุดบันทึกการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ในแต่ละฐาน (ได้เรียนรู้อะไร***ความเข้าใจต่อเรื่องที่เรียนรู้/ สิ่งใดที่ยังไม่เข้าใจหรือยังเป็นปัญหา)
- จับคู่กับเพื่อน ตั้งโจทย์และให้เพื่อนช่วยแก้โจทย์ของตนเอง โดยการ
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนได้เรียนรู้อะไรไปแล้วบ้างเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
- นักเรียนเขียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนของตนเอง พร้อมทั้งเขียนตั้งเป้าหมายการเรียนรู้ของตนเอง

ภาระงาน
- สำรวจ และนับสิ่งของรอบๆตัวนำมาจัดหมวดหมู่ นับรวมกัน และจัดลำดับจากมากไปน้อย
- ทำแบบฝึกหัดทบทวนการบวก ลบ คูณ หารและแก้โจทย์ปัญหา
- จับคู่กับเพื่อนตั้งและแก้โจทย์ปัญหา
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- วางเป้าหมายการเรียนรู้

ชิ้นงาน
องค์ความรู้ก่อนเรียน
(Mind Mapping / ใบงาน/นิทาน/การ์ตูน)

ความรู้
ทบทวนองค์ความรู้
จำนวนและการดำเนินการ
 -  การบวก ลบ คูณ หาร
  - การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
ทักษะ
 - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
-ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ

 มาตรฐาน ค1.1
1.1.3/1-  เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
 ค1.1.3/2 – เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
มาตรฐาน ค1.2
 1.2.3/1 -  บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
 1.2.3/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
มาตรฐาน ค6.1
6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome



2


23
-
27
พ.ค.
2559











โจทย์
การวัด
- เวลาและชั่วโมง
- ช่วงเวลาในหนึ่งวัน
- ช่วงเวลาสั้นๆ
- การคาดคะเน
จำนวนและการดำเนินการ
-ความรู้สึกเชิงจำนวน (ระยะห่างของเวลา)
-โจทย์ปัญหาและการแก้โจทย์
คำถาม
-นักเรียนอ่านเวลาอย่างไร /จะนำเรื่องเวลาไปใช้กับตนเองอย่างไร
-โจทย์บอกอะไร ถามอะไร นักเรียนแก้ปัญหานี้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Show & Share
Round Robin
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-นาฬิกา
-ใบงาน
-อุปกรณ์ทำชิ้นงาน
-ใบงานโจทย์และโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมในแต่ละวันของตนเอง
ครูเล่านิทานเกี่ยวกับโมง ยาม แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับนิทานที่ฟัง การใช้ภาษากับเวลาช่วงต่างๆเช่น โมง ยาม ข้าวงาย ข้าวสวย ข้างแลง เช้าตรู่ เพล โพล้เพล้ แสงแรก แสงสุดท้าย ตะวันโด่ง ผีตากผ้าอ้อม ฯลฯ
-นักเรียนวาดภาพประกอบเพื่อสื่อช่วงเวลาของวัน (เลือก 1ช่วงเวลาที่ชอบ)
- เล่นบทบาทสมมุติ “ช่วงเวลาต่างๆ”โดยครูเป็นกระตุ้นโจทย์การเล่น นักเรียนเป็นผู้เล่น เช่น “ขณะนี้เวลา 05.30 น. (นักเรียนแสดงบทบาทในช่วงเวลานั้น)
-สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการอ่าน และบอกช่วงเวลาต่างๆของวันโดยประมาณ (คาดคะเน) การสังเกตธรรมชาติรอบตัว (เสียง แสง ดวงดาว )
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนจะออกแบบและทำนาฬิกาจากวัสดุเหลือใช้เพื่อนำมาใช้ในการเรียนรู้อย่างไร (*ทำไม่เสร็จให้ต่อเป็นการบ้าน)
- ครูบอกสถานการณ์ /เหตุการณ์ต่างๆ นักเรียนบอกเวลา(หมุนเข็มนาฬิกาตามเวลาที่บอก)
- จับคู่กับเพื่อนสลับกันบอกเวลา และอ่านเวลา (หมุนเข็มนาฬิกาตามเวลาที่บอก)ผ่านนาฬิกาที่ประดิษฐ์ไว้
- นักเรียนสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา  
- วิเคราะห์แลกเปลี่ยนหน่วยของเวลาการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- ทบทวนสรุปกิจกรรมในชีวิตประจำวันและเขียน Time Line ของตนเอง
ภาระงาน
- ออกแบบนาฬิกาจากวัสดุเหลือใช้
- วิเคราะห์ สร้างและแก้โจทย์และโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
- ออกแบบตารางเวลาของตนเอง
- วิเคราะห์แลกเปลี่ยนหน่วยของเวลา
ชิ้นงาน
- นาฬิกาจากวัสดุเหลือใช้
- ตารางเวลาประจำวัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์














ความรู้
การวัด
-เวลาและชั่วโมง
-ช่วงเวลาในหนึ่งวัน
-ช่วงเวลาสั้นๆ
จำนวนและการดำเนินการ
  - การบวก ลบ คูณ หาร
  - การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
  - รู้ค่าของเลขประจำหลัก
ทักษะ
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/4  - บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา (ช่วง 5 นาที)  และอ่านเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด
 ค2.1.3/5  - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดความยาว  น้ำหนัก  และเวลา
 มาตรฐาน ค 2.2
 2.2.3/1 – วิเคราะห์  แก้ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
 2.2.3/3 - อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome
3


30
พ.ค.
-
3
มิ.ย.
2559




















โจทย์
การวัด
- เวลาและชั่วโมง
- ช่วงเวลาในหนึ่งวัน
- ช่วงเวลาสั้นๆ (นาที วินาที)
- การคาดคะเน เทียบเวลา
จำนวนและการดำเนินการ
- ความรู้สึกเชิงจำนวน
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
 -ความรู้สึกเชิงจำนวน (ระยะห่างของเวลา)
คำถาม
-นักเรียนอ่านเวลาอย่างไร /จะนำเรื่องเวลาไปใช้กับตนเองอย่างไร
-โจทย์บอกอะไร ถามอะไร นักเรียนแก้ปัญหานี้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Show & Share
Round Robin

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-เรื่องเล่า “เวลา”
-อุปกรณ์ทำชิ้นงาน
-ใบงานโจทย์และโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับกิจกรรมในแต่ละวันของตนเอง Time Lineของตนเอง เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่าเรื่องเกี่ยวกับเวลาโดยใช้อุปกรณ์ที่ไม่ใช่นาฬิกา (ขัน/กะลาเจาะรู น้ำ ,ธูป ,ทราย)
-สร้างTime Line ของอุปกรณ์บอกเวลา (อดีต-ปัจจุบัน)
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์ “นักเรียนจะสร้างอุปกรณ์บอก(หมด)เวลาในการทำงาน 20 นาที ของตนเองอย่างไร
- นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆละเท่ากันออกแบบและสร้างอุปกรณ์บอกเวลาของตนเอง
- สร้างและแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา (เลขระคน) โดยใช้อุปกรณ์จับเวลาในการทำงานที่ประดิษฐ์ไว้
- วิเคราะห์แลกเปลี่ยนเกี่ยวเวลาการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (การเรียนเวลาทั่งไป /หน่ายของเวลา /การอ่านเวลา)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ ผ่านละครบทบาทสมมุติเกี่ยวเวลา และการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน (กำหนดให้มีเนื้อเรื่องที่เกี่ยวกับช่วงเวลาที่ไม่ต้องใช้นาฬิกา ,ช่วงเวลาเป็นชั่วโมง /นาที /วินาที ,ช่วงเวลาที่ใช้อุปกรณ์บอกเวลาอื่น)








ภาระงาน
- ออกแบบนาอุปกรณ์จับเวลา /บอกเวลาจากวัสดุเหลือใช้
- วิเคราะห์ สร้างและแก้โจทย์และโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
- ออกแบบตารางเวลาของตนเอง
- วิเคราะห์แลกเปลี่ยนหน่วยของเวลา
ชิ้นงาน
- Time Line ของอุปกรณ์บอกเวลา
- อุปกรณ์จับเวลา /บอกเวลาจากวัสดุเหลือใช้
- ละครบทบาทสมมุติ(เวลา
- ใบงาน(โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเวลา)

















ความรู้
การวัด
-เวลาและชั่วโมง
-ช่วงเวลาในหนึ่งวัน
-ช่วงเวลาสั้นๆ
จำนวนและการดำเนินการ
  - การบวก ลบ คูณ หาร
  - การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
  - ความรู้สึกเชิงจำนวน (เวลา)
ทักษะ
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น



 มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/4  - บอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา (ช่วง 5 นาที)  และอ่านเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด
 ค2.1.3/5  - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดความยาว  น้ำหนัก  และเวลา
 มาตรฐาน ค 2.2
 2.2.3/1 – วิเคราะห์  แก้ปัญหาเกี่ยวกับเวลา
 2.2.3/3 - อ่านและเขียนบันทึกกิจกรรมหรือเหตุการณ์ที่ระบุเวลา
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome






4

6-10
มิ.ย.
2559
























โจทย์
การวัด
- วัดความยาวที่มีหน่วยเป็นกิโลเมตร เมตร เซนติเมตร มิลลิเมตร
- เปรียบเทียบความยาว
- การคาดคะเน
จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน (
 - เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
คำถาม
-การวัด ระยะทางและเวลามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
-นักเรียนจะใช้อะไรวัดระยะ เพราะเหตุใดจึงใช้สิ่งนั้น
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Show & Share
Round Robin
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-หนังสือนิทาน
-เครื่องมือวัด ตลับเมตร ไม้เมตร สายวัด ไม้บรรทัด
-ตัวอย่างแผนผังชุมชน
-พท.บริเวณโรงเรียน



- ครูเล่านิทานประกอบภาพ “มาลองวัดเพื่อเปรียบเทียบกันเถอะ”
-ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน “นักเรียนจะวัดสิ่งของต่างๆ(ครูกำหนดให้)อย่างไร
- นักเรียนวัดความยาวสิ่งของในห้องเรียนด้วยวิธีการวัดง่ายๆตามความเข้าใจของแล้วบันทึกผล (คืบ ศอก ก้าว ไม้บรรทัด ไม้เมตร สายวัด) แลกเปลี่ยนใช้อะไรวัด คิดอย่างไรเกี่ยวกับการวัดต่างๆที่นักเรียนทำ แบบไหนน่าจะเป็นมาตรฐาน(ค่าสากล) เพราะเหตุใด)
- ทบทวน หน่วยการวัด การวัดความสูง ความยาว ความกว้าง โดยการวัดสิ่งของในชั้นเรียน ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะใช้อะไรวัด”
-นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มรับโจทย์จากครูเพื่อวัดสิ่งต่างๆโดยใช้เครื่องมือวัดที่ตนเองคิดว่าเหมาะสม เหมาะสมกับสิ่งที่จะวัด (ครูกำหนดเวลาให้ 10 นาที) เช่นกรอบความสูงประตูห้องเรียน ความกว้างกระดานไวท์บอร์ด ความกว้างของชั้นหนังสือ ความหนาของหนังสือ ฯลฯ แล้วบันทึกผลลงในสมุดบันทึก
- คาดคะเน / วัดระยะทางจากสถานที่หนึ่งไปอีกสถานที่หนึ่งในจุดเริ่มต้นเดียวกัน (เปรียบเทียบระยะทาง) จัดลำดับระยะทางที่ห่างกันจากมากไปน้อย วิเคราะห์แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับ “วิธีการ” ในการวัดและใช้เครื่องมือวัดเพื่อพิสูจน์การคาดคะเนนั้นพร้อมบันทึกผล
- ออกแบบระยะทางการเดิน 200 เมตรในพื้นที่ที่กำหนดให้
-วิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหาระยะทางและเวลา
- ออกแบบสร้างและแก้โจทย์ปัญหาการวัด(หน่วยเป็น กิโลเมตร) แผนผังโรงเรียน หมู่บ้าน และเวลา
- วิเคราะห์แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับระยะทางและเวลา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ผ่าน การออกแบบแผนผังชุมชนของตนเอง (ระยะทางจากที่หนึ่งไปที่หนึ่ง **เทียบและคำนวณระระทางกับเวลาผ่านการเดิน)โดยกำหนดระยะทางและเวลาที่มีความสัมพันธ์กับการเดินทางด้วยวิธีการเดินเท้า
ภาระงาน
-ทบทวน หน่วยการวัด การวัดความสูง ความยาว ความกว้าง
-ออกแบบระยะทางการเดิน
-วัดระยะทางจากสถานที่หนึ่งไปอีกสถานที่หนึ่งออกแบบแผนผัง
-สร้างและแก้โจทย์ปัญหาการวัด

ชิ้นงาน
-ใบงานการวัด (โจทย์ /โจทย์ปัญหา)
-แผนภาพชุมชน/โรงเรียน
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์















ความรู้
การวัด
เข้าใจและบอกความยาวเป็นเมตร  เซนติเมตร  และมิลลิเมตร  เลือกเครื่องวัดที่เหมาะสม เปรียบเทียบ และคาดคะเนความยาว
จำนวนและการดำเนินการ
  - การบวก ลบ คูณ หาร
  - การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
  - รู้ค่าของเลขประจำหลัก
  - รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน (
  - เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
ทักษะ
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น




มาตรฐาน ค 1.1
1.1.3/1-  เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
 ค1.1.3/2 – เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
มาตรฐาน 1.2
 ค1.2.3/1 -  บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ                                                                                                                                                                                                                                
 1.2.3/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/1 บอกความยาวเป็นเมตร  เซนติเมตร  และมิลลิเมตร  เลือกเครื่องวัดที่เหมาะสมและเปรียบเทียบความยาว
2.1.3/5 - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการวัดความยาว ความยาว  และเวลา
มาตรฐาน ค 2.2
2.2.3/1- แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัดความยาว และเวลา
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome






5

13-17
มิ.ย.
2559


















โจทย์
การวัด
 - การชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม กรัม ขีด 
 - คาดคะเน
 - เปรียบเทียบขนาดของวัตถุ
จำนวนและการดำเนินการ
 - การบวก ลบ คูณ หาร
 - การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
 - รู้ค่าของเลขประจำหลัก
 - รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน (
 - เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
คำถาม
-นักเรียนคิดว่า “จะหนักเท่าไรชั่งอย่างไร”
-โจทย์บอกอะไร ถามอะไร นักเรียนแก้ปัญหานี้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Show & Share
Round Robin

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-สิ่งของ
-วัตถุดิบทำเค้กกล้วยหอม
-เครื่องชั่งสปริง
- ทบทวนการชั่ง คาดคะเนน้ำหนักสิ่งของ เรียงลำดับจากสิ่งที่คิดว่าหนักมากที่สุดไปหาน้อยสุด
- สังเกตสิ่งของ “จากการคาดคะเน สิ่งของแต่ละชิ้น(หนังสือ แฟ้มเอกสาร แม็คเย็บ สมุดบันทึก ขวดน้ำ 1 ลิตร หมอนใยสังเคราะห์) อันไหนน่าจะหนักและเบาที่สุด” ชั่งสิ่งของจากที่คาดคะเนไว้บอกน้ำหนักจดบันทึก
- แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับขนาด รูปร่าง กับน้ำหนัก เช่น ทำไมสิ่งของบางชิ้นขนาดใหญ่แต่เบา บางชิ้นเล็กแต่หนักมากกว่า เป็นต้น
- ทบทวนการชั่ง ผ่านการชั่งสิ่งของในห้องเรียน เช่นชั่งสมุด 1 เล่ม แล้วแลกเปลี่ยน *สมุดหนึ่งเล่มหนัก 200 กรัม มีกระดาษ 50 แผ่น กระดาษแต่ละแผ่นจะหนักเท่าไร
- ทำแบบฝึกหัดโจทย์การชั่ง บวก ลบ คูณหาร เลขระคน  โดยครูกระตุ้นด้วยโจทย์ปัญหา
ชั่งสิ่งของที่มีน้ำหนักไม่เกินหนึ่งกิโลกรัม (กรัม ขีด) อ่าน บอกน้ำหนัก จดบันทึก ผ่านการทำขนมเค้กกล้วยหอม (ชั่งแป้ง ส่วนผสม)
- ครูกระตุ้นโดยโจทย์ นักเรียนแลกเปลี่ยน แล้วทำแบบฝึกโจทย์ปัญหาการชั่ง บวก ลบ คูณหาร เลขระคน
- ออกแบบและสร้างสรรค์โจทย์ปัญหาการชั่งบวก ลบ คูณหาร เลขระคน
- วิเคราะห์แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการชั่งและเครื่องมือในการชั่ง รวมทั้งการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ภาระงาน
-ทำขนม (ชั่งแป้ง ส่วนผสม)
-วิเคราะห์แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการชั่งและเครื่องมือในการชั่ง รวมทั้งการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
-ออกแบบและสร้างสรรค์โจทย์ปัญหาการชั่ง
-วิเคราะห์สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ สิ่งที่จะนำไปปรับใช้

ชิ้นงาน
- ใบงานโจทย์ การแก้โจทย์ปัญหา
- ขนมเค้กกล้วยหอม
- แบบสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์












ความรู้
การวัด
-เข้าใจและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัม  กรัม  และขีด  เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสมและเปรียบเทียบน้ำหนัก
- คาดคะเนน้ำหนัก
- เปรียบเทียบขนาดของวัตถุกับน้ำหนัก
จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน (  
  - เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
ทักษะ
-ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
-ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
-เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
-มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน ค 1.1
1.1.3/1-  เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
 ค1.1.3/2 – เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
มาตรฐาน ค 1.2
 ค1.2.3/1 -  บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ          
 1.2.3/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
 มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/2  - บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัม  กรัม  และขีด  เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสมและเปรียบเทียบน้ำหนัก
2.1.3/5 - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่งน้ำหนัก  การตวง  และเงิน 
มาตรฐาน 2.2
2.2.3/1 - แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ การชั่ง  การตวง  เงิน  และเวลา
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome





6

20-24
มิ.ย.
2559






















โจทย์
การวัด
 - การชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยเป็นกิโลกรัม กรัม ขีด 
- คาดคะเน
- เปรียบเทียบขนาดของวัตถุ
จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
คำถาม
-นักเรียนคิดว่า “จะหนักเท่าไรชั่งอย่างไร”
-โจทย์บอกอะไร ถามอะไร นักเรียนแก้ปัญหานี้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Show &Share
Round Robin

สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-สิ่งของ
-เครื่องชั่งสปริง


-ทบทวนสิ่งที่เรียนรู้เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูชั่งสิ่งของ นักเรียนอ่านและเปรียบเทียบน้ำหนักที่มีหน่วยเป็น กิโลกรัม กรัม ขีด
-นักเรียนแบ่งกลุ่ม เลือกสิ่งของที่จะชั่งคาดคะเนน้ำหนัก จดบันทึก /ชั่งสิ่งของที่อยู่ใกล้ตัว (เครื่องชั่งสปริง) จดบันทึก แลกเปลี่ยนการชั่ง
- วิเคราะห์แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการ ชั่ง น้ำหนักและเครื่องชั่งแบบต่างๆ
- เปรียบเทียบน้ำหนักผ่านกิจกรรม “แขวนสิ่งของด้วยยางยืด” จดบันทึก
- หาสิ่งของที่หนัก 1 กิโลกรัม ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไรจากสิ่งของที่มีน้ำหนัก 1กิโลกรัมเท่ากัน”
- นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละเท่าๆกัน หาสิ่งของที่มีหน่วยน้ำหนักที่แตกต่างกัน “นอกจากหน่วยน้ำหนัก กิโลกรัม กรัม มิลลิกรัม ยังมีหน่วยของน้ำหนักอะไรอีกบ้าง” ผ่านการชั่งน้ำหนัก
- นักเรียนนำเสนอและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับหน่วยการชั่ง ที่ได้จากการชั่งสิ่งของ
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์ แบบฝึกหัดการชั่ง การบวก ลบ คูณ หาร(แบบกระจาย /แนวตั้ง)
- วิเคราะห์และสร้างโจทย์ปัญหาการชั่งกับราคาของสินค้า บวก ลบ คูณ หารเลขระคน
- วิเคราะห์แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการชั่ง รวมทั้งการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ผ่านละครบทบาทสมมุติ(ซื้อ ขาย)

ภาระงาน
- อ่านและเปรียบเทียบน้ำหนักที่มีหน่วยเป็น กิโลกรัม กรัม ขีด
- เปรียบเทียบน้ำหนักผ่านกิจกรรม “แขวนสิ่งของด้วยยางยืด”
- สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการคาดคะเน การชั่งและน้ำหนักของสิ่งของ
- เปรียบเทียบน้ำหนักผ่านกิจกรรม “แขวนสิ่งของด้วยยางยืด”

ชิ้นงาน
-แบบบันทึกการชั่ง
แบบฝึกการบวก ลบ คูณ หารการชั่ง
-โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการชั่งการบวกลบ คูณ หาร เลขระคน
-แบบสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์









ความรู้
การวัด
-เข้าใจและบอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัม  กรัม 
และขีด  เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสมและเปรียบเทียบน้ำหนัก
- คาดคะเนน้ำหนัก
- เปรียบเทียบขนาดของวัตถุกับน้ำหนัก
จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
 - เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
ทักษะ
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

มาตรฐาน ค 1.1
1.1.3/1-  เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
 ค1.1.3/2 – เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
มาตรฐาน ค 1.2
 ค1.2.3/1 -  บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ          
 1.2.3/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
 มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/2  - บอกน้ำหนักเป็นกิโลกรัม  กรัม  และขีด  เลือกเครื่องชั่งที่เหมาะสมและเปรียบเทียบน้ำหนัก
2.1.3/5 - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่งน้ำหนัก  การตวง  และเงิน 
มาตรฐาน 2.2
2.2.3/1 - แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ การชั่ง  การตวง  เงิน  และเวลา
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome






7

27
มิ.ย.
-
1 ก.ค.
2559


















โจทย์
การวัด
- การตวงปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นลิตร มิลลิลิตร
- คาดคะเน
 จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา เลขระคน
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
คำถาม
-นักเรียนคิดว่า “จะมีปริมาณน้ำเท่าไร วัดอย่างไร เพราะเหตุใดจึงทำเช่นนั้น”
-โจทย์บอกอะไร ถามอะไร นักเรียนแก้ปัญหานี้อย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share

Show & Share
Round Robin
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-ภาชนะ อุปกรณ์การตวงขนาดต่างๆ ทั้งมาตรฐาน/ไม่มาตรฐาน
-ใบงานโจทย์ปัญหาการตวง

-ครูเล่านิทานประกอบภาพ “การตวง”
-นักเรียนสังเกตภาชนะ ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
-นักเรียนเปรียบเทียบภาชนะ พร้อมทั้งให้เหตุผล “นักเรียนบอกได้ไหมว่าอันไหนใหญ่กว่ากัน เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นนั้น”
-นักเรียนเติมน้ำใส่ภาชนะที่สังเกต “ภาชนะใดน่าจะใส่น้ำได้มากกว่ากัน /นักเรียนจะใช้อะไรในการเปรียบเทียบและบอกปริมาณน้ำ” นักเรียนแสดงความคิดเห็นแลกเปลี่ยน“หากมองด้วยตาเปล่านักเรียนบอกได้หรือไม่ว่าอันไหนมีมากกว่ากัน”
-วาดภาพบันทึกผลการตวง
- สังเกต อ่าน ปริมาณในภาชนะ บรรจุภัณฑ์ ที่แตกต่างกันแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับปริมาณ
- สร้างถ้วยตวง 1 ลิตร เพื่อใช้หาปริมาณน้ำของภาชนะต่างๆ
-ทบทวนการตวง การหาปริมาณน้ำ หน่วยการตวง เปรียบเทียบปริมาณ
-โจทย์ปัญหา (เลขระคน) การหาปริมาณน้ำ “นักเรียนสามารถคำนวณจำนวนที่มีหน่วยเดียวกันได้หรือไม่”
-สร้างโจทย์ปัญหาการบวกลบ คูณ หาร(เลขระคน)เกี่ยวกับการตวง
-นำเสนอแลกเปลี่ยน “ทำอย่างไร”
- ทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ การตวง การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์



ภาระงาน
-ทบทวนการชั่ง
-วิเคราะห์เปรียบเทียบขนาดและปริมาตรของภาชนะ
-สร้างถ้วยตวง
-หาปริมาตรที่บรรจุน้ำในแต่ละภาชนะ
-สร้างและแก้โจทย์ปัญหาการตวง
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
แบบบันทึกปริมาณน้ำ
ใบงานโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณหาร เกี่ยวกับการตวง

















ความรู้
การวัด
เข้าใจและสามารถบอกปริมาตรและความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร  เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุในหน่วยเดียวกัน
- คาดคะเน
 จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
ทักษะ
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

มาตรฐาน ค 1.1
1.1.3/1-  เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
 ค1.1.3/2 – เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
มาตรฐาน ค 1.2
 ค1.2.3/1 -  บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ                                                                                                                                                                                                                              
 1.2.3/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
 มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/3 - บอกปริมาตรและความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร  เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุในหน่วยเดียวกัน
2.1.3/5 - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่งน้ำหนัก  การชั่ง การตวง  และเงิน 
มาตรฐาน 2.2
2.2.3/1 - แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ การชั่ง  การตวง  เงิน  และเวลา
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome







8

4-8 ก.ค.
2559



















โจทย์
การวัด
- การตวงปริมาตรและความจุที่มีหน่วยเป็นลิตร มิลลิลิตร
- คาดคะเน
 จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
คำถาม
-นักเรียนคิดว่า “จะมีปริมาณเท่าไร วัดอย่างไร เพราะเหตุใดจึงทำเช่นนั้น”
-โจทย์บอกอะไร โจทย์ถามอะไร นักเรียนแก้ปัญหานั้น หรือมีวิธีคิดอย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Show & Share
Round Robin


สื่อ/แหล่งเรียนรู้
-ภาชนะ อุปกรณ์การตวงขนาดต่างๆ ทั้งมาตรฐาน/ไม่มาตรฐาน
- ทบทวนการตวง การอ่านปริมาตร การหาปริมาณ และหน่วยการการตวง “จะชั่งสิ่งของแต่ละอย่างอย่างไร เพราะเหตุใด”
-นักเรียนคาดคะเนน้ำหนักสิ่งของ(ไม่เกิน1กิโลกรัม)ชั่งสิ่งของโดยใช้เครื่องชั่งสปริง “ทำอย่างไร” แล้วบันทึกผล
- จับฉลากแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ทำเค้กกล้วยหอม “นักเรียนจะใช้เครื่องมือใดในการตวงส่วนผสม” “จะเป็นอย่างไรถ้า...”
- ทำแบบฝึกโจทย์การบวก ลบ คูณ หาร เกี่ยวกับการตวง นำเสนอแลกเปลี่ยนกับเพื่อน
- ออกแบบสร้างสรรค์โจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ หาร เลขระคน เกี่ยวกับการตวง
- ทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ การตวง การนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์









ภาระงาน
- ทบทวน แลกเปลี่ยนการตวง การอ่านปริมาตร การหาปริมาณ และหน่วยการการตวง
- ทำเค้กกล้วยหอม เรียนรู้การตวงที่มีปริมาณน้อย
-วิเคราะห์ แก้โจทย์ปัญหาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน

ชิ้นงาน
-เค้กกล้วยหอม
-แบบฝึกหัด โจทย์ปัญหาการตวง (เลขระคน)
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
การวัด
เข้าใจและสามารถบอกปริมาตรและความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร  เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุในหน่วยเดียวกัน
- คาดคะเน
 จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
ทักษะ
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

มาตรฐาน ค 1.1
1.1.3/1-  เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
 ค1.1.3/2 – เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
มาตรฐาน ค 1.2
 ค1.2.3/1 -  บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ                                                                                                                                                                                                                              
 1.2.3/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
 มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/3 - บอกปริมาตรและความจุเป็นลิตร มิลลิลิตร  เลือกเครื่องตวงที่เหมาะสมและเปรียบเทียบปริมาตรและความจุในหน่วยเดียวกัน
2.1.3/5 - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่งน้ำหนัก  การชั่ง การตวง  และเงิน 
มาตรฐาน 2.2
2.2.3/1 - แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ การชั่ง  การตวง  เงิน  และเวลา
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome






9

11-15 ก.ค.
2559



















โจทย์
การวัด
- ค่าของเงินทั้งหมดทั้งเหรียญและธนบัตร
- อ่านและเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด
 จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
คำถาม
-นักเรียนสังเกตเห็นอะไร/เกี่ยวข้องกับเรา หรือสิ่งอื่นอย่างไร
-โจทย์บอกอะไร โจทย์ถามอะไร นักเรียนแก้ปัญหานั้น หรือมีวิธีคิดอย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Placemat
Round Robin
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
-ธนบัตรฉบับต่าง
-เหรียญต่างๆ
- ครูพานักเรียนเล่นเกม “รวมเงิน”(ผู้ชาย.....บาท ผู้หญิง.....บาท รวมเงินไห้ได้.....บาท)
- ให้นักเรียนสังเกตเงิน ทั้งเหรียญและธนบัตรครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนสังเกตเห็นอะไร/เกี่ยวข้องกับเรา หรือสิ่งอื่นอย่างไร”
- นักเรียนเขียนแผนภาพความคิด ความสัมพันธ์ของเงินกับสิ่งต่างๆ
- นักเรียนช่วยกันแยกและจัดหมวดหมู่ พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนวิธีคิด เพราะเหตุใดจึงจัดหมวดหมู่เช่นนั้น เงินแต่ละกลุ่มมีค่าเท่าไร”
- นักเรียนวาดภาพเงินค่าต่างๆ (1,000 /500 /100 /50/ 20 /10 /5/ 2 /1 บาท /50 สตางค์ /25สตางค์
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์การบวก การลบ การคูณ การหาร
- ครูกระตุ้นด้วยโจทย์ตัวเลข นักเรียนแลกเปลี่ยนค่าประจำหลัก แล้วสร้างโจทย์แยกหน่วยเงินตามค่าประจำหลัก(ตาราง)
 -นักเรียนแก้โจทย์ นำเสนอแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน
- นักเรียนสร้างโจทย์ปัญหา การบวก การลบ การคูณ การหาร เลขระคนเกี่ยวกับค่าของเงิน นำเสนอและแลกเปลี่ยนกับเพื่อน
-  ออกแบบสร้าง “กระปุกออมสินแสนกล”ใน1กระปุกให้มีช่องเก็บธนบัตรเก็บเหรียญ”
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ (ความเรียงเกี่ยวกับเงิน)
ภาระงาน
- เล่นเกม “รวมเงิน”
- แยกและจัดหมวดหมู่เงิน
-สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเงินกับตนเอง และสิ่งอื่นๆ
ชิ้นงาน
- แบบบันทึกค่าของเงิน(ธนบัตร และเหรียญ)
-โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
- กระปุกออมสิน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์














ความรู้
การวัด
 จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- ค่าของเงินทั้งหมดทั้งเหรียญและธนบัตร
- อ่านและเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด
 - รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
ทักษะ
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน

มาตรฐาน ค 1.1
1.1.3/1-  เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
 ค1.1.3/2 – เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
มาตรฐาน ค 1.2
 ค1.2.3/1 -  บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ                                                                                                                                                                                                                              
 1.2.3/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
 มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/5 - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่งน้ำหนัก  การชั่ง การตวง  และเงิน 
2.1.3/6  - อ่านและเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด
มาตรฐาน 2.2
2.2.3/1 - แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ การชั่ง  การตวง  เงิน  และเวลา
2.2.3/2 – อ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
มาตรฐาน 4.1
ค4.1.3/1- บอกจำนวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3  ทีละ 4  ทีละ25  ทีละ 50  และลดลงทีละ 3  ทีละ 4  ทีละ 5  ทีละ 25  ทีละ 50  และแบบรูปซ้ำ
ค4.1.3/1- บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง  ขนาด  หรือสีที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome







10

18-22 ก.ค.
2559

















โจทย์
การวัด
- ค่าของเงินทั้งหมดทั้งเหรียญและธนบัตร
- อ่านและเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด
 จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
คำถาม
- นักเรียนสังเกตเห็นอะไร/เกี่ยวข้องกับเรา หรือสิ่งอื่นอย่างไร
- โจทย์บอกอะไร โจทย์ถามอะไร นักเรียนแก้ปัญหานั้น หรือมีวิธีคิดอย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Placemat
Round Robin
สื่อ / แหล่งเรียนรู้
-ธนบัตรฉบับต่าง
-เหรียญต่างๆ
- ทบทวนเกี่ยวกับการอ่านค่าของเงิน การนำไปใช้
- นักเรียนทบทวนค่าประจำหลักโจทย์เกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ โดยการเล่นผ่านเกมรวมเงิน (กำหนดผู้เล่นให้มีค่าในหลักหน่วย สิบ ร้อย พัน )
- ครูนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเพื่อทบทวนและสรุปเกี่ยวกับค่าประจำหลัก (ตำแหน่ง ค่า การทด การยืม)
-ครูกระตุ้นด้วยโจทย์การลบ การบวก (คิดกลับ)นักเรียนทำแบบฝึกและนำเสนอ
- ครูพานักเรียนเล่นบทบาทสมมุติ “แลกเงิน/ทอนเงิน/การยืม” โดยครูเป็นผู้กำหนดโจทย์ นักเรียนแบ่งกลุ่มและเป็นผู้เล่น
- ทำแบบฝึกโจทย์ปัญหาการลบการบวกเกี่ยวกับการแลกการทอนเงิน( คิดกลับแนวตั้ง/แนวนอน)
-ครูกระตุ้นด้วยโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน นักเรียนทำแบบฝึกหัด
-นักเรียนจับคู่กับเพื่อนสร้างโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
-นักเรียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ (สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับเงิน และการนำไปใช้)





ภาระงาน
-เล่นเกมรวมเงินวิเคราะห์แลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ผ่านเกม
-วิเคราะห์โจทย์ปัญหา นำเสนอ แลกเปลี่ยนกับเพื่อนในชั้นเรียน
-เล่นบทบาทสมมุติ การแลก การทอนเงิน การยืม)
-สร้างและแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน

ชิ้นงาน
-แบบฝึกหัดโจทย์ปัญหา
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์















ความรู้
การวัด
 จำนวนและการดำเนินการ
- การบวก ลบ คูณ หาร
- การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา และสร้างโจทย์ปัญหา
- ค่าของเงินทั้งหมดทั้งเหรียญและธนบัตร
- อ่านและเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด
 - รู้ค่าของเลขประจำหลัก
- รู้จักสัญลักษณ์แทนจำนวน ( 
- เปรียบเทียบค่าของจำนวน, เรียงลำดับจำนวน
ทักษะ
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


มาตรฐาน ค 1.1
1.1.3/1-  เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงปริมาณของสิ่งของหรือจำนวนนับที่ไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์
 ค1.1.3/2 – เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสนและศูนย์
มาตรฐาน ค 1.2
 ค1.2.3/1 -  บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หาร ระคน ของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ                                                                                                                                                                                                                              
 1.2.3/2 วิเคราะห์และแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาและโจทย์ปัญหาระคนของจำนวนนับไม่เกินหนึ่งแสน และศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
 มาตรฐาน ค 2.1
2.1.3/5 - บอกความสัมพันธ์ของหน่วยการชั่งน้ำหนัก  การชั่ง การตวง  และเงิน 
2.1.3/6  - อ่านและเขียนจำนวนเงินโดยใช้จุด
มาตรฐาน 2.2
2.2.3/1 - แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ การชั่ง  การตวง  เงิน  และเวลา
2.2.3/2 – อ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
มาตรฐาน 4.1
ค4.1.3/1- บอกจำนวนและความสัมพันธ์ในแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทีละ 3  ทีละ 4  ทีละ25  ทีละ 50  และลดลงทีละ 3  ทีละ 4  ทีละ 5  ทีละ 25  ทีละ 50  และแบบรูปซ้ำ
ค4.1.3/1- บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่มีรูปร่าง  ขนาด  หรือสีที่สัมพันธ์กันอย่างใดอย่างหนึ่ง
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้อง
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์
week
Input
Process
Output
Outcome







11

25-29 ก.ค.
2559











โจทย์
-ทบทวนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนมาใน Quarter นี้
 - สรุปองค์ความรู้หลังเรียนรู้
คำถาม
-นักเรียนจะสรุปสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
-นักเรียนทำอะไรได้ดีแล้ว และยังต้องพัฒนาเรื่องใดเพิ่มเติม/จะนำสิ่งที่เรียนรู้ไปปรับใช้กับตนเองอย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share
Think & Share
Card & Chart
Round Robin
สื่อ/แหล่งเรียนรู้
บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะสรุปสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไรบ้าง”
- ครูนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter ที่ผ่านมา ครูช่วยเขียนสรุปสิ่งที่นักเรียนแลกเปลี่ยนบนกระดาน
- นักเรียนสรุปสิ่งที่เรียนรู้เกี่ยวกับการวัด ตลอดทั้งQuarter ในรูปแบบที่ตนเองสนใจ เช่น การ์ตูน นิทาน เรื่องเล่า ความเรียง แผนภาพความคิด ชาร์ตความรู้ ฯลฯ
-เตรียมความพร้อม และนำเสนอ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้หลังเรียน
-ประเมินตนเอง “สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ต้องพัฒนา”





ภาระงาน
-ทบทวนสิ่งที่เรียนรู้
-วางแผนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน
-นำเสนอ แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
-ประเมินตนเอง สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว สิ่งที่ต้องพัฒนา

ชิ้นงาน
-สรุปองค์ความรู้หลังเรียน













ความรู้
- การบวก การคูณ การหาร และการลบ
- การวัด /เครื่องมือวัด /หน่วยการวัด
- การชั่ง / การตวง/ โจทย์ปัญหา
- โจทย์ปัญหาสถานการณ์(การดำเนินการ)
- เวลา /การบอกค่า / โจทย์ปัญหาสถานการณ์(เวลา)
- ปฏิทิน / โจทย์ปัญหา
ทักษะ
- ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
- ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
-ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการ
นำเสนอได้อย่างถูกต้อง
- เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
- มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คุณลักษณะ
-  มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
 - รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
มาตรฐาน ค 6.1
 6.1.3/1  - ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
 6.1.3/2 - ใช้ความรู้  ทักษะ  และกระบวนการทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/3 ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ  และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
 6.1.3/4 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร  การสื่อความหมาย  และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
 6.1.3/5 - เชื่อมโยงความรู้ต่างๆ ในคณิตศาสตร์  และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
6.1.3/6 – มีความคิดสร้างสรรค์